1. ตู้แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel)
เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมระบบทั้งหมดละตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ และสั่งการทำงานส่วนต่างๆใน จะประกอบด้วย
-วงจรตรวจคุมคอยรับสัญญาณจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ
-วงจรทดสอบการทาง
-วงจรป้องกันระบบ
-วงจรสัญญาณแจ้งการทำงานในสภาวะปกติ และภาวะขัดข้อง เช่น สายไฟจากอุปกรณ์ตรวจจับขาด , แบตเตอรี่ต่า, ไฟฟ้าที่จ่ายด้วยแผงควบคุมโดนตัดขาด หรือมีปัญหา เป็นต้น ตู้แผงควบคุม (FCP) จะมีไฟ LED, เสียงเสดงสภาวะต่างๆ และสวิทซ์ปุ่มกดต่างๆ บนหน้าจอตู้ควบคุม เช่น
- Fire Lamp : จะติดเมื่อเกิดเพลิงไหม้
- Main Sound Buzzer : จะมีเสียงดังขณะแจ้งเหตุ
- Zone Lamp : จะติดค้างแสดงโซนที่เกิด Alarm
- Trouble Lamp : แจ้งเหตุขัดข้องต่างๆของระบบ
- Control Switch : สำหรับการควบคุม เช่น เปิด/ปิด เสียงที่ดูควบคุม และกระดิ่งทดสอบการ ทำงานของระบบตู้ควบคุม , ทดสอบ Battery
- Reset : คนค่าระบบหลังเหตุการณ์เป็นปกติ
2. ชุดจ่ายไฟ (Power Supply)
ชุดจ่ายไฟ เป็นอุปกรณ์แปลงกำลังไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟมาเป็นกาลังไฟฟ้ากระแสตรง ที่ใช้ในการทำงานของระบบควบคุม และจะต้องมีระบบไฟฟ้าส์ รอง เพื่อให้ระบบทำงานได้ในขณะที่ไฟฟ้าปกติของสถานที่
3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices) เป็นอุปกรณ์ต้นกำเนิดของ สัญญาณแจ้งเตือนอัคคีภัย ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณด้วยมีจากบุคคล (Manual Station) มี 2 แบบ คือ
- แบบอุปกรณ์ใช้มีดึงคันโยกลงาเรือใช้มือกด (Push or Pull Down Manual Station)
- แบบอุปกรณ์ใช้มือทุบกระจกเเตก หรือทุบกระจกเเตกเเละกดปุ่ม (Break Glass)
3.2 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์อัตโนมัติที่มีปฏิกิริยาไวต่อสภาวะ ตามระยะต่างๆ ของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่
3.2.1 อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector)
3.2.2 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector)
3.2.3 อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector)
3.2.4 อุปกรณ์ตรวจจับแก๊ส (Gas Detector)
อุปกรณ์เริ่มสัญญาณแบบอัตโนมัติ (Automatic Initiation Devices) มีหลายชนิดตั้ง
3.2.1. อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) แบ่งออกเป็น 2 แบบ ดังนี้ อุปกรณ์ตราจจับควันชนิดไอออนไนเซนต์ (Ionization Smoke Detector) อุปกรณ์ชนิดนี้
เหมาะสำหรับใช้ตรวจจับสถาณะควันในระยะเริ่มต้นที่เหมือนภาคของควันเลิกมาก lonization Detector ทำงานโดยใช้หลักการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางไฟฟ้า โดยใช้สารกัมมันตภาพรังสีปริมาณน้อยมากซึ่งมีอยู่ใน Chamber จะทำปฏิกิริยากับอากาศที่อยู่ระหว่างขั้วบวก และขั่วลบทำให้ความน่าไฟฟ้า (Conductivity) เพิ่มขึ้นมีผลให้กระแสสามารถไหลผ่านได้ โดยสะดวก เมื่อมีอนุภาคของควันเข้ามาใน Sensing Chamber อนุภาคของควันจะไปรวมตัวกับอิออน จะมีผลทำ ให้การไหลของกระแสลดลงด้วย ซึ่งทำให้ตัวตรวจจับคานแจ้งสถานะ Alarm
- อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดโฟโต้อิเลคตริก (Photoelectric Smoke Detector) เหมาะสำหรับ
ใช้ตรวจจับสัญญาณควันในระยะที่มีอนุภาคของควันที่ใหญ่ขึ้น Photoelectric Smoke Detectorทำงานโดยใช้หลักการสะท้อนของแสงเมื่อมีควันเข้ามาในตัวตรวจจับควันจะไม่กระทบกับแสงที่ออกมาจาก Photoemiter ซึ่งไม่ได้ส่องตรงไปยังอุปกรณ์รับแสง Photo Receptor แต่แสงดังกล่าวบางส่วนจะสะท้อน อนุภาคควันและหักเข้าไปที่ตรวจจับควันส่งสัญญาณแจ้ง Alarm
3.2.2. อุปกรณ์ตรวจับความร้อน (Heat Detector) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน เป็นอุปกรณ์แจ้งอัคคีภัยอัตโนมัติรุ่นแรกๆ มีหลายชนิด ซึ่งนับได้ว่าเป็นอุปกรณ์ที่
3.2.3. อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (Flame Detector)
โดยปกติจะนำไปใช้ในบริเวณพื้นที่อันตราย และมีความเสียงในการเกิดเพลิงไหม้สูง (Heat Area)เช่น คลังจ่ายนำมัน, โรงงานอุตสาหกรรม, บริเวณเก็บวัสดุที่เมื่อติดไฟจะเกิดควันไม่มาก หรือ บริเวณที่ง่ายต่อการระเบิด หรือ ง่ายต่อการลุกลาม อปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟจะดักจับความคลื่นความถี่แสงในย่านอุลตร้าไวโอเล็ทซึ่งจะมีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 0.18-0.36 ไมครอน ที่เเผ่ออกมาจากเปลวไฟเท่านัน แสงสว่าง ที่เกิดจากหลอดไฟ และ แสงอินฟราเรดจะไม่มีผลทำให้เกิด Fault Alarm ได้
3.2.4. อุปกรณ์ตรวจจับก๊าซและแก๊ส (CO Sensor-Gas Detector)
คือ อุปกรณ์ตรวจับก๊าซ Carbon Monoxide (CO) และแก็ส Gasหน้าที่หลัก จะตรว จับ กาซคาร์บอนมอนนอกไซด์ แกสธรรมชาติ Natural gas , แกส LPGระดับการแจ้งเตือน Alarm level : 10% LEL of Natural gas , 100 PPM of CO Photoelectric Smoke Detector with Heat and Carbonmonoxide Sensors) เป็นอุปกรณ์ตรวจจับควันแบบสำแสง รวมกับการตรวจจับความร้อน และก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ทำงานที่อุณหภูมิเพิ่มมากกว่า +135?F (+5770)
4. อุปกรณ์เเจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices) หลังจากอุปกรถเริ่มสัญญาณทำงานโดยส่งสัญญาณมายังตู้ควบคุม (FCP) แล้วดูควบคุม FCP จึงส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง ได้แก่
- กระดิ่ง
- ไซเรนเสียง
- ไซเรนเสียงและแสง
- ไฟสัญญาณต่างๆ เป็นต้น
เพื่อให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ผู้รับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการดังเพลิง ได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น
เปิดพัดลมในระบบระบายอากาศ , เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ , การควบคุมเปิดประตูทางออก เปิดประตูหนีไฟ , ปิดประตูกันควันไฟ , ควบคุมระบบกระจายเสียง และ การประกาศแจ้งข่าวเปิดระบบดับเพลิง เป็นต้น
5. อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและดับเพลิงโดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภัยกับระบบอื่น เช่น
5.1 ส่งสัญญาณกระตุ้นการทำงานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ เปิดพัดลมในระบบอากาศ เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคุมควันไฟ การควบคุมควันไฟ การความคุมเปิดประตูทางออก และเปิดประตูทางหนีไฟ ปิดประตูกั้นควันไฟ ควบคุมระบบกระจายเสียง และการประกาศแจ้งข่าวสารเตือนภัย เป็นต้น
5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุนการทำงานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่น จากระบบพ่นน้ำปั้มดับเพลิง , ระบบดับเพลิงด้วยสารเคมีชนิดอัตโนมัติ เป็นต้นการพิจารณาเลือกซื้อและติดตั้งในบริเวณต่างๆ การพิจารณาเลือกซื้อและการติดตั้ง อุปกรณ์ตรวจจับในบริเวณต่างๆ ควรจะคำนึงเรื่องความปลอดภัยของชีวิตกับความเลี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยภายในบริเวณต่างๆ ของสถานที่ และลักษณะของเพลิงไหม้ที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้กำหนดจุดออกแบบการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับให้เหมาะสมกับสถานที่ และจะไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากเกินไป
การออกแบบระบบป้องกันอัคคีภัย
ผู้ออกแบบควรทำความเข้าใจลักษณะของสิ่งที่จะป้องกัน (Hazard) ให้ดีเสียก่อนอย่างน้อยควร
พิจารณาจากปัจจัยต่างๆ หลายๆองค์ประกอบของไฟ คือ ออกซิเจน ความร้อน เชื้อเพลิง และปฏิกิริยาลูกโซ่การเผาไหม้
เชื้อเพลิงประเภท A คือ เชอเพลิงอินทรีย์ที่เป็นของแขง
เชื้อเพลิงประเภท B คือ นามันเชอเพลิงและกาซ ยกเว้นนามันสาหรับประกอบอาหาร
เชื้อเพลิงประเภท C คือ เชอเพลิงที่เป็นอปกรณ์ไฟฟ ที่มีกระแสไหลอยู่
เชื้อเพลิงที่เกี่ยวของ : ปริมาณ และ ชนิด ของเชื้อเพลิงเป็นปัจจัยสำคัญอันดับแรกๆ ในการเลือก สารดับเพลิง และ วิธีการสงสารดับเพลิง
ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น : เป็นปัจจัยในการตัดสินความจำเป็น ในการใชระบบป้องกันอัคคีภัย
ความคาดหวังผลการป้องกัน : สาหรับกำหนดสมรรถนะของระบบป้องกันอัคคีภัยที่ต้องการซึ่งข้อมูลหาได้จากการศึกษา ลักษณะของก็ให้กิจการต่างๆ ที่จะออกแบบระบบป้องกันอัคคีภัยไว้ป้องกัน เช่น โรงแรม โรงงาน คอนโดมิเนียม. โรงงานปิโตรเคมี คลังสินค้าธนาคาร ฯลฯ แต่ละกิจการจะมีแนวทางปฏิบัติ และขอกำหนดต่างๆ ของตนเอง ซึ่งจะมีประโยชน์อย่างมากกับการออกแบบระบบป้องกันอัคคีภัยที่เหมาะสม
สิ่งสำคัญในการใช้งานระบบแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัย
1. ควรเก็บแบบแปลนการเดินท่อ เและดินสายสัญญาณ ของสถานที่ติดตั้งระบบเเจ้งเตือนเหตุอัคคีภัย ให้ขอแบบอัพเดทตาสุดที่ติดตั้งเสร็จจริง จากบริษัทผู้ทำการติดตั้ง
2. ควรเก็บแบบแปลนตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ทุกจุดของสถานที่ติดตั้งระบบแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัยให้ขอแบบอัพเดทล่าสุดที่ติดตั้งเสร็จจริง
3. ควรตรวจนับอุปกรณ์ทั้งหมดที่สรุปซื้อ และ ตรวจสอบเทสระบบอุปกรณ์ให้แน่ใจก่อนรับส่งมอบงาน
4. ควรขอสัญญาเงื่อนไขการรับประกันการติดตั้งและสินค้าทั้งหมด จากริษัทฯ ผู้ขายและทำการติดตั้ง
5. ควรขอตารางวัน เวลา ของการบริการดราจเช็คระบบหลังการขาย จากบริษัทฯผู้ขาย
6. ควรจะเก็บคูมือการใช้งานระบบอุปกรณ์ทั้งหมดไว้เป็นอย่างดี ให้ขอจากริษัทฯผู้ขายและทำการติดตั้ง
7. ควรจัดหาผู้รับผิดชอบ ควบคุมและจัดการระบบเเจ้งเตือนเหตุอัคคีภัย อย่างน้อย 2 ท่าน ในการเข้ารับการอบรมการใช้งานอุปกรณ์ และอบรมระบบจัดเตรียมป้องกันอัคคีภัย
8. ควรจะมีการเทสระบบการทำงานของอุปกรณ์ทั้งหมด อย่างน้อย 6 เดือนครั้ง
9. ควรจะมีการเตรียมการช่อมหนีไฟ กรณีเกิดเหตุการจริง อย่างน้อย 4 เดือนครั้ง
10. ควรจะมีการตรวจเช็คและทำความสะอาดระบบอุปกรณ์ทั้งหมด ปีละ 2 ครั้ง